สาระสำคัญ พ.ร.บ.ส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. 2566 (ฉบับเตรียมสอบ)
1. พระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. 2566 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 140/ตอนที่ 20 ก/หน้า 71/19 มีนาคม 2566 ประกอบด้วยบทบัญญัติ 36 มาตรา มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด 60 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 18 พฤษภาคม 2566 เป็นต้นไป)
2. พระราชบัญญัตินี้ ยกเลิกพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 และมีผลดังนี้
5. กรมส่งเสริมการเรียนรู้ มีหน้าที่จัด ส่งเสริม และสนับสนุนการเรียนรู้ 3 รูปแบบ (กฎหมายบังคับ) และอาจเพิ่มอีก 1 รูปแบบ ถ้ามีประกาศรัฐมนตรีกำหนดไว้ (กฎหมายเปิดช่อง) โดยทั้ง 4 รูปแบบนี้ จะต้องคำนึงถึงความหลากหลายและความต้องการของผู้เรียน และเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกเพศทุกวัยมีโอกาสเรียนรู้และเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้อย่างทั่วถึง เท่าเทียม และเป็นธรรมโดยไม่เลือกปฏิบัติ
รูปแบบที่ 1 การเรียนรู้ตลอดชีวิต
เป้าหมาย
2. พระราชบัญญัตินี้ ยกเลิกพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 และมีผลดังนี้
- เปลี่ยนสำนักงาน กศน. ในสำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ เป็นกรมส่งเสริมการเรียนรู้ มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นกรมในกระทรวงศึกษาธิการ อยู่ในบังคับบัญชาของรัฐมนตรีและปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
- โอนกิจการ อำนาจหน้าที่ ทรัพย์สิน งบประมาณ สิทธิ หนี้ ภาระผูกพันทั้งปวง และอัตรากำลังของสำนักงาน กศน. ไปเป็นของกรมส่งเสริมการเรียนรู้
- บรรดาคดีของสำนักงาน กศน. ที่ฟ้องหรือถูกฟ้อง ให้ถือว่ากรมส่งเสริมการเรียนรู้เป็นผู้ฟ้องหรือถูกฟ้อง
3. นิยาม/คำจำกัดความ
"หน่วยจัดการเรียนรู้" หมายถึง
- ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ระดับอำเภอ
- ศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบล
- ศูนย์การเรียนรู้ในพื้นที่
- ศูนย์หรือสถาบันการเรียนรู้เฉพาะด้านหรือเฉพาะกิจการ
- หน่วยงานที่เรียกชื่ีออย่างอื่นที่ทำหน้าที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้
สถานศึกษาและศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตามกฎหมาย กศน. เดิม ให้เป็น "หน่วยจัดการเรียนรู้" ตามกฎหมายใหม่นี้ไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการจัดตั้งหน่วยจัดการเรียนรู้ขึ้นใหม่ ซึ่งต้องดำเนินการให้เสร็จภายใน 90 วันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ หรือภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2566
"ภาคีเครือข่าย" หมายความว่า หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานเอกชน ชุมชน ครอบครัว สถาบันทางศาสนา และบุคคลอื่นใด ที่ประสงค์จะจัด ร่วมจัด ส่งเสริมหรือสนับสนุนการดำเนินงานของกรมส่งเสริมการเรียนรู้หรือหน่วยจัดการเรียนรู้
"สถานศึกษา" หมายถึง สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
"สถาบันพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้" หมายถึง สถาบันพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
- โอนกิจการ อำนาจหน้าที่ ทรัพย์สิน งบประมาณ สิทธิ หนี้ ภาระผูกพันทั้งปวง และอัตรากำลังของสำนักงาน กศน. ไปเป็นของกรมส่งเสริมการเรียนรู้
- บรรดาคดีของสำนักงาน กศน. ที่ฟ้องหรือถูกฟ้อง ให้ถือว่ากรมส่งเสริมการเรียนรู้เป็นผู้ฟ้องหรือถูกฟ้อง
3. นิยาม/คำจำกัดความ
"หน่วยจัดการเรียนรู้" หมายถึง
- ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ระดับอำเภอ
- ศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบล
- ศูนย์การเรียนรู้ในพื้นที่
- ศูนย์หรือสถาบันการเรียนรู้เฉพาะด้านหรือเฉพาะกิจการ
- หน่วยงานที่เรียกชื่ีออย่างอื่นที่ทำหน้าที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้
สถานศึกษาและศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตามกฎหมาย กศน. เดิม ให้เป็น "หน่วยจัดการเรียนรู้" ตามกฎหมายใหม่นี้ไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการจัดตั้งหน่วยจัดการเรียนรู้ขึ้นใหม่ ซึ่งต้องดำเนินการให้เสร็จภายใน 90 วันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ หรือภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2566
"ภาคีเครือข่าย" หมายความว่า หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานเอกชน ชุมชน ครอบครัว สถาบันทางศาสนา และบุคคลอื่นใด ที่ประสงค์จะจัด ร่วมจัด ส่งเสริมหรือสนับสนุนการดำเนินงานของกรมส่งเสริมการเรียนรู้หรือหน่วยจัดการเรียนรู้
"สถานศึกษา" หมายถึง สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
"สถาบันพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้" หมายถึง สถาบันพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
(ในระหว่างที่ยังไม่ได้จัดตั้งสถาบันนี้ ให้สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำหน้าที่เป็นสถาบันตามพระราชบัญญัตินี้)
"กรม" หมายถึง กรมส่งเสริมการเรียนรู้
"อธิบดี" หมายถึง อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้
"กรม" หมายถึง กรมส่งเสริมการเรียนรู้
"อธิบดี" หมายถึง อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้
ผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการสำนักงาน กศน. ตามกฎหมายเก่า เป็นอธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ตามกฎหมายใหม่นี้
"จังหวัด" / "อำเภอ" / "ตำบล" หมายความรวมถึง กรุงเทพมหานคร / เขต / แขวง ตามลำดับ
"รัฐมนตรี" หมายถึง รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา 36 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้รักษาการ)
4. วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมการเรียนรู้
"จังหวัด" / "อำเภอ" / "ตำบล" หมายความรวมถึง กรุงเทพมหานคร / เขต / แขวง ตามลำดับ
"รัฐมนตรี" หมายถึง รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา 36 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้รักษาการ)
4. วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมการเรียนรู้
- เพื่อพัฒนาบุคคลให้มีความสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา
- เป็นคนดี มีวินัย รู้จักสิทธิควบคู่กับหน้าที่และความรับผิดชอบ
- ภูมิใจและตระหนักในความสำคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
- รู้จักรักษาประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ
- รู้จักความพอเพียง มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- ใฝ่เรียนรู้ มีความรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
- มีคุณธรรม และมีความซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้งมีสำนึกในความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
- มีความเป็นพลเมืองที่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมไทยและสังคมโลกได้อย่างผาสุก
- กับเพื่อให้บุคคลมีทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิตที่สอดคล้องและเท่าทันพัฒนาการของโลก และมีโอกาสพัฒนาหรือเพิ่มพูนทักษะของตนให้สูงขึ้นหรือปรับเปลี่ยนทักษะของตนตามความถนัดหรือความจำเป็น
5. กรมส่งเสริมการเรียนรู้ มีหน้าที่จัด ส่งเสริม และสนับสนุนการเรียนรู้ 3 รูปแบบ (กฎหมายบังคับ) และอาจเพิ่มอีก 1 รูปแบบ ถ้ามีประกาศรัฐมนตรีกำหนดไว้ (กฎหมายเปิดช่อง) โดยทั้ง 4 รูปแบบนี้ จะต้องคำนึงถึงความหลากหลายและความต้องการของผู้เรียน และเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกเพศทุกวัยมีโอกาสเรียนรู้และเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้อย่างทั่วถึง เท่าเทียม และเป็นธรรมโดยไม่เลือกปฏิบัติ
รูปแบบที่ 1 การเรียนรู้ตลอดชีวิต
เป้าหมาย
- เพื่อจัดให้มีระบบกระตุ้น ชี้แนะ หรืออำนวยความสะดวกด้วยวิธีการใด ๆ
- ให้บุคคลสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองในเรื่องที่สนใจหรือตามความถนัด
- สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ทุกประเภทได้ในเวลาใด ๆ ที่สะดวก โดยไม่มีภาระค่าใช้จ่ายเกินสมควร
- และเพิ่มพูนความรู้ให้กว้างขวาง รู้เท่าทันพัฒนาการของโลกอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
- นำความรู้ไปเติมเต็มชีวิตให้แก่ตนเองหรือเกิดประโยชน์ต่อสังคม
โดยอาจได้รับการรับรองคุณวุฒิตามความเหมาะสมด้วยก็ได้ ซึ่งหน่วยจัดการเรียนรู้มีอำนาจรับรองคุณวุฒิให้แก่ผู้เรียนเมื่อสำเร็จการศึกษา โดยออกเป็นประกาศนียบัตรหรือวุฒิบัตร หรือออกหนังสือรับรองความรู้ เพื่อนำไปสะสมในการได้รับการรับรองคุณวุฒิ ตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้กำหนด
แนวทางดำเนินการ ต้องคำนึงถึง
- การดำเนินการเพื่อกระตุ้นให้บุคคลใฝ่หาความรู้ในเรื่องที่ตนสนใจ และสร้างสมรรถนะในการเรียนรู้โดยผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นปัจจุบันได้ด้วยตนเองในทุกเวลาอย่างรู้เท่าทัน และเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ทุกประเภทได้โดยง่ายในเวลาที่ตนสะดวกโดยไม่มีภาระค่าใช้จ่ายเกินสมควร
- จัดให้มีและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ เพื่อให้บุคคลสามารถเรียนรู้ตลอดชีวิตได้โดยสะดวก ไม่มีข้อกำหนดหรือเงื่อนไขใด ๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้หรือมีลักษณะเป็นการไม่เกื้อหนุนให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต
- จัดหรือส่งเสริมให้ภาคีเครือข่าย ช่วยจัดหรือร่วมกันจัดให้บุคคลในครอบครัวและชุมชน มีนิสัยรักการอ่านหรือการเรียนรู้ รวมทั้งจัดให้มีแหล่งส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ในชุมชน
- ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ชำนาญการในภูมิปัญญาท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
รูปแบบที่ 2 การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเอง
เป้าหมาย
- ให้บุคคลสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองในเรื่องที่สนใจหรือตามความถนัด
- สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ทุกประเภทได้ในเวลาใด ๆ ที่สะดวก โดยไม่มีภาระค่าใช้จ่ายเกินสมควร
- และเพิ่มพูนความรู้ให้กว้างขวาง รู้เท่าทันพัฒนาการของโลกอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
- นำความรู้ไปเติมเต็มชีวิตให้แก่ตนเองหรือเกิดประโยชน์ต่อสังคม
โดยอาจได้รับการรับรองคุณวุฒิตามความเหมาะสมด้วยก็ได้ ซึ่งหน่วยจัดการเรียนรู้มีอำนาจรับรองคุณวุฒิให้แก่ผู้เรียนเมื่อสำเร็จการศึกษา โดยออกเป็นประกาศนียบัตรหรือวุฒิบัตร หรือออกหนังสือรับรองความรู้ เพื่อนำไปสะสมในการได้รับการรับรองคุณวุฒิ ตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้กำหนด
แนวทางดำเนินการ ต้องคำนึงถึง
- การดำเนินการเพื่อกระตุ้นให้บุคคลใฝ่หาความรู้ในเรื่องที่ตนสนใจ และสร้างสมรรถนะในการเรียนรู้โดยผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นปัจจุบันได้ด้วยตนเองในทุกเวลาอย่างรู้เท่าทัน และเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ทุกประเภทได้โดยง่ายในเวลาที่ตนสะดวกโดยไม่มีภาระค่าใช้จ่ายเกินสมควร
- จัดให้มีและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ เพื่อให้บุคคลสามารถเรียนรู้ตลอดชีวิตได้โดยสะดวก ไม่มีข้อกำหนดหรือเงื่อนไขใด ๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้หรือมีลักษณะเป็นการไม่เกื้อหนุนให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต
- จัดหรือส่งเสริมให้ภาคีเครือข่าย ช่วยจัดหรือร่วมกันจัดให้บุคคลในครอบครัวและชุมชน มีนิสัยรักการอ่านหรือการเรียนรู้ รวมทั้งจัดให้มีแหล่งส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ในชุมชน
- ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ชำนาญการในภูมิปัญญาท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
รูปแบบที่ 2 การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเอง
เป้าหมาย
- เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะ และความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านตามความถนัดของตน การประกอบอาชีพ การพัฒนาอาชีพ
- การยกระดับคุณภาพชีวิตของตน ครอบครัว ชุมชน หรือสังคม
- หรือเพื่อประโยชน์แห่งความรอบรู้ของตน
โดยอาจได้รับการรับรองคุณวุฒิตามความเหมาะสม ซึ่งหน่วยจัดการเรียนรู้มีอำนาจรับรองคุณวุฒิให้แก่ผู้เรียนเมื่อสำเร็จการศึกษา โดยออกเป็นประกาศนียบัตรหรือวุฒิบัตร หรือออกหนังสือรับรองความรู้ เพื่อนำไปสะสมในการได้รับการรับรองคุณวุฒิ ตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้กำหนด
โดยจะต้องมีระบบแนะแนวการเรียนและการประกอบอาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ทราบล่วงหน้าหรือวางแผนให้สอดคล้องกับความถนัดของตนด้วย
- การยกระดับคุณภาพชีวิตของตน ครอบครัว ชุมชน หรือสังคม
- หรือเพื่อประโยชน์แห่งความรอบรู้ของตน
โดยอาจได้รับการรับรองคุณวุฒิตามความเหมาะสม ซึ่งหน่วยจัดการเรียนรู้มีอำนาจรับรองคุณวุฒิให้แก่ผู้เรียนเมื่อสำเร็จการศึกษา โดยออกเป็นประกาศนียบัตรหรือวุฒิบัตร หรือออกหนังสือรับรองความรู้ เพื่อนำไปสะสมในการได้รับการรับรองคุณวุฒิ ตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้กำหนด
โดยจะต้องมีระบบแนะแนวการเรียนและการประกอบอาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ทราบล่วงหน้าหรือวางแผนให้สอดคล้องกับความถนัดของตนด้วย
แนวทางดำเนินการ ต้องคำนึงถึง
- การดำเนินการ เพื่อกระตุ้นให้บุคคลทุกช่วงวัยทุกอาชีพใฝ่เรียนรู้หรือฝึกฝนในเรื่องที่ตนถนัดหรือสนใจ เพื่อการพัฒนาศักยภาพ ทักษะ และความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน สำหรับการประกอบอาชีพ การพัฒนาอาชีพ การดำเนินชีวิตอย่างผาสุก หรือการร่วมกันพัฒนาชุมชนของตน
- ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือหรือร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการดำเนินการดังกล่าว
รูปแบบที่ 3 การเรียนรู้เพื่อคุณวุฒิตามระดับ
เป้าหมาย
- การดำเนินการ เพื่อกระตุ้นให้บุคคลทุกช่วงวัยทุกอาชีพใฝ่เรียนรู้หรือฝึกฝนในเรื่องที่ตนถนัดหรือสนใจ เพื่อการพัฒนาศักยภาพ ทักษะ และความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน สำหรับการประกอบอาชีพ การพัฒนาอาชีพ การดำเนินชีวิตอย่างผาสุก หรือการร่วมกันพัฒนาชุมชนของตน
- ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือหรือร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการดำเนินการดังกล่าว
รูปแบบที่ 3 การเรียนรู้เพื่อคุณวุฒิตามระดับ
เป้าหมาย
- เพื่อจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้ซึ่งอยู่ในวัยเรียนแต่ไม่ได้รับการศึกษาในสถานศึกษา หรือผู้ซึ่งพ้นวัยที่จะศึกษาในสถานศึกษา หรืออยู่ในพื้นที่ห่างไกลหรือทุรกันดาร หรือไม่มีหน่วยงานอื่นใดไปดำเนินการ เพื่อให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- ตลอดจนส่งเสริม สนับสนุน เพื่อให้ได้รับการศึกษาสูงกว่าระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามศักยภาพของผู้เรียน
โดยต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ โดยปรับอายุและระยะเวลาที่กำหนดไว้ ให้สอดคล้องกับสภาพความจำเป็นของผู้เรียน
โดยจะต้องมีระบบแนะแนวการเรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ทราบล่วงหน้าหรือวางแผนการศึกษาของตนด้วย
แนวทางดำเนินการ ใต้องคำนึงถึง
- การจัดการเรียนรู้สำหรับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ซึ่งมิได้ศึกษาอยู่ในสถานศึกษาไม่ว่าด้วยเหตุใด เพื่อให้ได้รับคุณวุฒิระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านสามัญศึกษาหรืออาชีวศึกษา
- วิธีการจัดการเรียนรู้และการจัดทำหรือพัฒนาหลักสูตร ต้องสอดคล้องกับพัฒนาการของโลก และสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามความถนัดหรือความสนใจของตน โดยวิธีการและหลักสูตรเป็นไปตามที่กรมส่งเสริมการเรียนรู้และสถาบันพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ร่วมกันกำหนด
- การประเมินผลเพื่อให้ได้รับคุณวุฒิทางการศึกษา ให้ใช้วิธีการที่หลากหลาย เพื่อใช้กับผู้เรียนซึ่งมีความแตกต่างกันได้อย่างเหมาะสม ต้องไม่ใช่วิธีการทดสอบความรู้ในทางวิชาการแต่เพียงด้านเดียว
- ร่วมกับสถาบันอุดมศึกษา เพื่อจัด ส่งเสริม และสนับสนุนให้ผู้ซึ่งได้รับคุณวุฒิระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านสามัญศึกษาหรืออาชีวศึกษา เพื่อให้ได้รับการศึกษาสูงกว่าระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- กรณีเด็กเข้ารับการเรียนรู้เพื่อคุณวุฒิตามระดับกับหน่วยการเรียนรู้ตามกฎหมายนี้ ให้ถือว่าผู้ปกครองได้ปฏิบัติหน้าที่ถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาภาคบังคับแล้ว (กฎหมายการศึกษาภาคบังคับ มีโทษทางอาญาหากผู้ปกครองไม่ส่งเด็กเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ) โดยการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กดังกล่าว ต้องจัดกระบวนการเรียนรู้ หลักสูตร และระยะเวลาการเรียนให้สอดคล้องกับความจำเป็นและความต้องการของผู้เรียน โดยให้กรมส่งเสริมการเรียนรู้และสถาบันพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ร่วมกันออกแบบให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
รูปแบบอื่น กรมส่งเสริมการเรียนรู้อาจจัด ส่งเสริมหรือสนับสนุนการเรียนรู้ที่จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชน ตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด
6. บุคคลและคณะบุคคลมีสิทธิดำเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมการเรียนรู้ตามกฎหมายนี้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการจัดการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
7. กรมส่งเสริมการเรียนรู้มีหน้าที่ร่วมกับสถาบันพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ จัดให้มีระบบงานเพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการเรียนรู้ดังนี้
- ระบบการเทียบระดับการศึกษา เทียบเคียงหรือเทียบโอนผลการเรียน ทักษะ ความรู้ ประสบการณ์ สมรรถนะ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้จากรูปแบบหนึ่งไปสู่อีกรูปแบบหนึ่ง หรือจากหน่วยจัดการเรียนรู้หนึ่งไปยังอีกหน่วยจัดการเรียนรู้หนึ่ง หรือจากหน่วยจัดการเรียนรู้หนึ่งไปยังสถานศึกษา หรือจากสถานศึกษามายังหน่วยจัดการเรียนรู้ หรือเพื่อประโยชน์ในการสะสมความรู้
- ระบบนำผลการเทียบเคียงดังกล่าว ไปสะสมเพื่อประโยชน์ในการได้รับการรับรองคุณวุฒิหรือเพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพ
8. กรมส่งเสริมการเรียนรู้ มีหน้าที่และอำนาจดังนี้
- จัดให้มี ส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาหลักสูตร โปรแกรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ และวิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมฯ รวมทั้งนำหลักสูตร โปรแกรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ และวิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หน่วยงานอื่นจัดทำไว้มาใช้ประโยชน์ได้ ทั้งนี้ในการผลิตและพัฒนาหลักสูตร จะต้องหารือกับสถาบันพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ก่อนดำเนินการ
- จัดทำแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ รวมทั้งร่วมกับภาคีเครือข่ายในการติดตาม ตรวจสอบ ให้คำแนะนำ และประเมินผลสัมฤทธิ์ในการส่งเสริมการเรียนรู้
- จัดให้มี ส่งเสริม และสนับสนุนให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมการเรียนรู้
- จัด ส่งเสริม และสนับสนุน การเรียนการสอน สภาพแวดล้อง ตลอดจนเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใด เพื่อให้คนพิการหรือบุคคลซึ่งมีความต้องการจำเป็นพิเศษ สามารถเรียนรู้ได้โดยสะดวกและเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ทุกประเภทได้อย่างเท่าเทียม ทั่วถึง และเป็นธรรม โดยไม่เลือกปฏิบัติและไม่มีภาระค่าใช้จ่ายเกินสมควร
- ร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เพื่อจัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกและแหล่งเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงการเรียนรู้ได้ทุกรูปแบบ ทุกที่ และทุกเวลา รวมทั้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบเป็นการทั่วไป
- กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการออกประกาศนียบัตร วุฒิบัตร หรือหนังสือรับรองความรู้ให้แก่ผู้เรียน
- ดำเนินการเทียบระดับการศึกษา การเทียบเคียงหรือเทียบโอนผลการเรียน
- จัดทำหลักเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของหน่วยจัดการเรียนรู้หรือภาคีเครือข่าย ทั้งนี้ในการจัดทำหลักเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์ จะต้องหารือกับสถาบันพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ก่อนดำเนินการ
- ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะของบุคลากรซึ่งทำหน้าที่ส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อให้สามารถส่งเสริมการเรียนรู้และแนะแนวการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสามารถสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาได้
- ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่นกำหนด
9. คณะกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัด
กรุงเทพมหานคร คณะกรรมการมีองค์ประกอบดังนี้
1) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานกรรมการ
2) ปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้แทนกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผู้แทนกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ผู้แทนกระทรวงแรงงาน ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข เป็นกรรมการ (โดยตำแหน่ง)
3) ผู้แทนภาคีเครือข่ายซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง ไม่เกิน 8 คน เป็นกรรมการ
- ตลอดจนส่งเสริม สนับสนุน เพื่อให้ได้รับการศึกษาสูงกว่าระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามศักยภาพของผู้เรียน
โดยต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ โดยปรับอายุและระยะเวลาที่กำหนดไว้ ให้สอดคล้องกับสภาพความจำเป็นของผู้เรียน
โดยจะต้องมีระบบแนะแนวการเรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ทราบล่วงหน้าหรือวางแผนการศึกษาของตนด้วย
แนวทางดำเนินการ ใต้องคำนึงถึง
- การจัดการเรียนรู้สำหรับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ซึ่งมิได้ศึกษาอยู่ในสถานศึกษาไม่ว่าด้วยเหตุใด เพื่อให้ได้รับคุณวุฒิระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านสามัญศึกษาหรืออาชีวศึกษา
- วิธีการจัดการเรียนรู้และการจัดทำหรือพัฒนาหลักสูตร ต้องสอดคล้องกับพัฒนาการของโลก และสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามความถนัดหรือความสนใจของตน โดยวิธีการและหลักสูตรเป็นไปตามที่กรมส่งเสริมการเรียนรู้และสถาบันพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ร่วมกันกำหนด
- การประเมินผลเพื่อให้ได้รับคุณวุฒิทางการศึกษา ให้ใช้วิธีการที่หลากหลาย เพื่อใช้กับผู้เรียนซึ่งมีความแตกต่างกันได้อย่างเหมาะสม ต้องไม่ใช่วิธีการทดสอบความรู้ในทางวิชาการแต่เพียงด้านเดียว
- ร่วมกับสถาบันอุดมศึกษา เพื่อจัด ส่งเสริม และสนับสนุนให้ผู้ซึ่งได้รับคุณวุฒิระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านสามัญศึกษาหรืออาชีวศึกษา เพื่อให้ได้รับการศึกษาสูงกว่าระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- กรณีเด็กเข้ารับการเรียนรู้เพื่อคุณวุฒิตามระดับกับหน่วยการเรียนรู้ตามกฎหมายนี้ ให้ถือว่าผู้ปกครองได้ปฏิบัติหน้าที่ถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาภาคบังคับแล้ว (กฎหมายการศึกษาภาคบังคับ มีโทษทางอาญาหากผู้ปกครองไม่ส่งเด็กเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ) โดยการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กดังกล่าว ต้องจัดกระบวนการเรียนรู้ หลักสูตร และระยะเวลาการเรียนให้สอดคล้องกับความจำเป็นและความต้องการของผู้เรียน โดยให้กรมส่งเสริมการเรียนรู้และสถาบันพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ร่วมกันออกแบบให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
รูปแบบอื่น กรมส่งเสริมการเรียนรู้อาจจัด ส่งเสริมหรือสนับสนุนการเรียนรู้ที่จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชน ตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด
6. บุคคลและคณะบุคคลมีสิทธิดำเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมการเรียนรู้ตามกฎหมายนี้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการจัดการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
7. กรมส่งเสริมการเรียนรู้มีหน้าที่ร่วมกับสถาบันพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ จัดให้มีระบบงานเพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการเรียนรู้ดังนี้
- ระบบการเทียบระดับการศึกษา เทียบเคียงหรือเทียบโอนผลการเรียน ทักษะ ความรู้ ประสบการณ์ สมรรถนะ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้จากรูปแบบหนึ่งไปสู่อีกรูปแบบหนึ่ง หรือจากหน่วยจัดการเรียนรู้หนึ่งไปยังอีกหน่วยจัดการเรียนรู้หนึ่ง หรือจากหน่วยจัดการเรียนรู้หนึ่งไปยังสถานศึกษา หรือจากสถานศึกษามายังหน่วยจัดการเรียนรู้ หรือเพื่อประโยชน์ในการสะสมความรู้
- ระบบนำผลการเทียบเคียงดังกล่าว ไปสะสมเพื่อประโยชน์ในการได้รับการรับรองคุณวุฒิหรือเพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพ
8. กรมส่งเสริมการเรียนรู้ มีหน้าที่และอำนาจดังนี้
- จัดให้มี ส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาหลักสูตร โปรแกรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ และวิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมฯ รวมทั้งนำหลักสูตร โปรแกรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ และวิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หน่วยงานอื่นจัดทำไว้มาใช้ประโยชน์ได้ ทั้งนี้ในการผลิตและพัฒนาหลักสูตร จะต้องหารือกับสถาบันพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ก่อนดำเนินการ
- จัดทำแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ รวมทั้งร่วมกับภาคีเครือข่ายในการติดตาม ตรวจสอบ ให้คำแนะนำ และประเมินผลสัมฤทธิ์ในการส่งเสริมการเรียนรู้
- จัดให้มี ส่งเสริม และสนับสนุนให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมการเรียนรู้
- จัด ส่งเสริม และสนับสนุน การเรียนการสอน สภาพแวดล้อง ตลอดจนเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใด เพื่อให้คนพิการหรือบุคคลซึ่งมีความต้องการจำเป็นพิเศษ สามารถเรียนรู้ได้โดยสะดวกและเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ทุกประเภทได้อย่างเท่าเทียม ทั่วถึง และเป็นธรรม โดยไม่เลือกปฏิบัติและไม่มีภาระค่าใช้จ่ายเกินสมควร
- ร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เพื่อจัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกและแหล่งเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงการเรียนรู้ได้ทุกรูปแบบ ทุกที่ และทุกเวลา รวมทั้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบเป็นการทั่วไป
- กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการออกประกาศนียบัตร วุฒิบัตร หรือหนังสือรับรองความรู้ให้แก่ผู้เรียน
- ดำเนินการเทียบระดับการศึกษา การเทียบเคียงหรือเทียบโอนผลการเรียน
- จัดทำหลักเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของหน่วยจัดการเรียนรู้หรือภาคีเครือข่าย ทั้งนี้ในการจัดทำหลักเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์ จะต้องหารือกับสถาบันพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ก่อนดำเนินการ
- ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะของบุคลากรซึ่งทำหน้าที่ส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อให้สามารถส่งเสริมการเรียนรู้และแนะแนวการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสามารถสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาได้
- ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่นกำหนด
9. คณะกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัด
กรุงเทพมหานคร คณะกรรมการมีองค์ประกอบดังนี้
1) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานกรรมการ
2) ปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้แทนกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผู้แทนกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ผู้แทนกระทรวงแรงงาน ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข เป็นกรรมการ (โดยตำแหน่ง)
3) ผู้แทนภาคีเครือข่ายซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง ไม่เกิน 8 คน เป็นกรรมการ
โดยต้องแต่งตั้งจากผู้แทนหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานเอกชนที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา อย่างน้อยด้านละ 1 คน (ในวาระเริ่มแรก ให้แต่งตั้งผู้แทนภาคีเครือข่าย ให้เสร็จภายใน 90 วัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ หรือภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2566)
4) ผู้ชำนาญการในภูมิปัญญาท้องถิ่นแต่ละด้านตามความเหมาะสม เป็นกรรมการ
5) ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ประจำกรุงเทพมหานคร เป็นกรรมการและเลขานุการ
จังหวัดอื่น คณะกรรมการมีองค์ประกอบดังนี้
1) ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานกรรมการ
2) ปลัดจังหวัด เกษตรและสหกรณ์จังหวัด พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด แรงงานจังหวัด ศึกษาธิการจังหวัด นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นกรรมการ
3) ผู้แทนภาคีเครือข่ายซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจำนวนไม่เกิน 8 คน เป็นกรรมการ โดยต้องแต่งตั้งจากภาคีเครือข่ายในพื้นที่ของจังหวัด และเป็นผู้แทนหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานเอกชนที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา อย่างน้อยด้านละ 1 คน
4) ผู้ชำนาญการในภูมิปัญหาท้องถิ่นแต่ละด้านตามความเหมาะสม
5) ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ประจำจังหวัด เป็นกรรมการและเลขานุการ
ให้รัฐมนตรีประกาศกำหนดคุณสมบัติอื่น การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่งของผู้แทนภาคีเครือข่าย และการประชุมของคณะกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัด
10. คณะกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัด มีหน้าที่และอำนาจดังนี้
- พิจารณา ให้ข้อเสนอแนะในการจัดทำ และให้ความเห็นชอบแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ของจังหวัด
- ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของหน่วยจัดการเรียนรู้ ให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายตามแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ของจังหวัด
- ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมการเรียนรู้ การจัดให้มีและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในพื้นที่จังหวัดให้สอดคล้องกับแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ของจังหวัด
- ติดตามการดำเนินงานในการส่งเสริมการเรียนรู้ของหน่วยจัดการเรียนรู้และภาคีเครือข่าย ให้มีคุณภาพและสอดคล้องกับแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ของจังหวัด
- เสนอแนะให้มีการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้
- เสนอแนะให้มีการจัดตั้งศูนย์หรือสถาบันการเรียนรู้เฉพาะด้านหรือเฉพาะกิจการ
- ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้มอบหมาย
11. ให้มีสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ประจำจังหวัด
4) ผู้ชำนาญการในภูมิปัญญาท้องถิ่นแต่ละด้านตามความเหมาะสม เป็นกรรมการ
5) ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ประจำกรุงเทพมหานคร เป็นกรรมการและเลขานุการ
จังหวัดอื่น คณะกรรมการมีองค์ประกอบดังนี้
1) ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานกรรมการ
2) ปลัดจังหวัด เกษตรและสหกรณ์จังหวัด พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด แรงงานจังหวัด ศึกษาธิการจังหวัด นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นกรรมการ
3) ผู้แทนภาคีเครือข่ายซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจำนวนไม่เกิน 8 คน เป็นกรรมการ โดยต้องแต่งตั้งจากภาคีเครือข่ายในพื้นที่ของจังหวัด และเป็นผู้แทนหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานเอกชนที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา อย่างน้อยด้านละ 1 คน
4) ผู้ชำนาญการในภูมิปัญหาท้องถิ่นแต่ละด้านตามความเหมาะสม
5) ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ประจำจังหวัด เป็นกรรมการและเลขานุการ
ให้รัฐมนตรีประกาศกำหนดคุณสมบัติอื่น การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่งของผู้แทนภาคีเครือข่าย และการประชุมของคณะกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัด
10. คณะกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัด มีหน้าที่และอำนาจดังนี้
- พิจารณา ให้ข้อเสนอแนะในการจัดทำ และให้ความเห็นชอบแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ของจังหวัด
- ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของหน่วยจัดการเรียนรู้ ให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายตามแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ของจังหวัด
- ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมการเรียนรู้ การจัดให้มีและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในพื้นที่จังหวัดให้สอดคล้องกับแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ของจังหวัด
- ติดตามการดำเนินงานในการส่งเสริมการเรียนรู้ของหน่วยจัดการเรียนรู้และภาคีเครือข่าย ให้มีคุณภาพและสอดคล้องกับแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ของจังหวัด
- เสนอแนะให้มีการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้
- เสนอแนะให้มีการจัดตั้งศูนย์หรือสถาบันการเรียนรู้เฉพาะด้านหรือเฉพาะกิจการ
- ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้มอบหมาย
11. ให้มีสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ประจำจังหวัด
- ทำหน้าที่เป็นหน่วยงานธุรการของคณะกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัด
- เพื่อกำกับ ดูแล ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน อำนวยความสะดวก และแนะนำการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ในศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ระดับอำเภอ ศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบล และศูนย์การเรียนรู้ในพื้นที่ ทั้งในด้านวิชาการ เทคโนโลยีที่จำเป็นในการส่งเสริมการเรียนรู้ การบริหารงาน และการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
- รวมตลอดทั้งการจัดทำแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ของจังหวัด ซึ่งต้องสอดคล้องกับแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ของกรม บริบทของท้องถิ่นและแผนการศึกษาแห่งชาติ และปฏิบัติหน้าที่ีอื่นตามที่อธิบดีมอบหมาย
ในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ประจำจังหวัดมีหน้าที่และอำนาจในการประสาน สนับสนุน และร่วมมือ หรือมอบหมายให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ดำเนินการส่งเสริมการเรียนรู้ได้
การจัดทำแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ของจังหวัดดังกล่าว ต้องรับฟังความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของภาคีเครือข่ายประกอบด้วย และเมื่อจัดทำร่างแผนการส่งเสริมการเรียนรู้แล้วเสร็จ ให้เสนอคณะกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดเพื่อพิจารณา ให้ความเห็นชอบและใช้บังคับต่อไป
12. ให้มีศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ระดับอำเภอ มีสถานะเป็นสถานศึกษา
ในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ประจำจังหวัดมีหน้าที่และอำนาจในการประสาน สนับสนุน และร่วมมือ หรือมอบหมายให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ดำเนินการส่งเสริมการเรียนรู้ได้
การจัดทำแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ของจังหวัดดังกล่าว ต้องรับฟังความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของภาคีเครือข่ายประกอบด้วย และเมื่อจัดทำร่างแผนการส่งเสริมการเรียนรู้แล้วเสร็จ ให้เสนอคณะกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดเพื่อพิจารณา ให้ความเห็นชอบและใช้บังคับต่อไป
12. ให้มีศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ระดับอำเภอ มีสถานะเป็นสถานศึกษา
- เพื่อจัดการเรียนรู้
- กำกับ ดูแล ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน อำนวยความสะดวก และแนะนำในการปฏิบัติหน้าที่ของศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบลและศูนย์การเรียนรู้ในพื้นที่ ทั้งในด้านวิชาการและเทคโนโลยีที่จำเป็นในการส่งเสริมการเรียนรู้ให้เป็นไปตามแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ของจังหวัด
- รวมทั้งประสานความร่วมมือและแนะนำการจัดการเรียนรู้ของภาคีเครือข่ายในพื้นที่
- และทำหน้าที่เป็นศูนย์การเรียนรู้ของตำบลอันเป็นที่ตั้งของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ระดับอำเภอหรือตำบลใกล้เคียงตามที่อธิบดีกำหนด และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่อธิบดีมอบหมาย
(สำหรับหน่วยจัดการเรียนรู้อื่นจะมีสถานะเป็นสถานศึกษา ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด)
ในกรณีจำเป็น ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ระดับอำเภอ จะจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ขึ้น ณ ที่ใดที่เห็นสมควรหรือตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดก็ได้
ในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ระดับอำเภอมีหน้าที่และอำนาจในการประสาน สนับสนุน และร่วมมือ หรือมอบหมายให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ดำเนินการส่งเสริมการเรียนรู้ได้
13. กรมส่งเสริมการเรียนรู้ อาจจัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบล สำหรับพื้นที่ของตำบลหนึ่งหรือหลายตำบลตามความจำเป็นและเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ก็ได้
ในกรณีที่เป็นพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร พื้นที่เสี่ยงภัย หรือพื้นที่ที่มีความยากลำบากในการปฏิบัติงาน กรมจะประกาศจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ในพื้นที่นั้นก็ได้
14. ให้หน่วยจัดการเรียนรู้สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนและสังคม รวมทั้งร่วมมือกับผู้ชำนาญการในภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาคีเครือข่าย และสถานศึกษา ในการส่งเสริมการเรียนรู้ การถ่ายทอดประสบการณ์ ความรู้ หรือภูมิปัญญาให้แก่ผู้เรียนหรือประชาชนด้วย
15. อธิบดีโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีจะจัดตั้งศูนย์หรือสถาบันการเรียนรู้เฉพาะด้านหรือเฉพาะกิจการขึ้น ตามที่เห็นสมควรหรือตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดก็ได้
16. กรมมีอำนาจเชิญบุคคลผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญอย่างแท้จริงตามความถนัดของตนหรือในการประกอบอาชีพที่หลากหลายซึ่งไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติมาให้ความรู้แก่ผู้เรียนได้ และให้บุคคลดังกล่าวจัดการเรียนรู้ การถ่ายทอดประสบการณ์ ความรู้ หรือภูมิปัญญาให้แก่ผู้เรียนได้โดยไม่ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู*** ทั้งนี้ กรมอาจมอบอำนาจดังกล่าว ให้หน่วยจัดการเรียนรู้ก็ได้
กรณีหน่วยงานของรัฐเป็นผู้ดำเนินการในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเอง อำนาจตามมาตรานี้ ให้เป็นอำนาจของหน่วยงานของรัฐนั้น
17. บุคลากรซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในกรมและในหน่วยจัดการเรียนรู้ จะเป็นข้าราชการประเภทใด ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
ในกรณีจำเป็น ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ระดับอำเภอ จะจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ขึ้น ณ ที่ใดที่เห็นสมควรหรือตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดก็ได้
ในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ระดับอำเภอมีหน้าที่และอำนาจในการประสาน สนับสนุน และร่วมมือ หรือมอบหมายให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ดำเนินการส่งเสริมการเรียนรู้ได้
13. กรมส่งเสริมการเรียนรู้ อาจจัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบล สำหรับพื้นที่ของตำบลหนึ่งหรือหลายตำบลตามความจำเป็นและเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ก็ได้
ในกรณีที่เป็นพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร พื้นที่เสี่ยงภัย หรือพื้นที่ที่มีความยากลำบากในการปฏิบัติงาน กรมจะประกาศจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ในพื้นที่นั้นก็ได้
14. ให้หน่วยจัดการเรียนรู้สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนและสังคม รวมทั้งร่วมมือกับผู้ชำนาญการในภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาคีเครือข่าย และสถานศึกษา ในการส่งเสริมการเรียนรู้ การถ่ายทอดประสบการณ์ ความรู้ หรือภูมิปัญญาให้แก่ผู้เรียนหรือประชาชนด้วย
15. อธิบดีโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีจะจัดตั้งศูนย์หรือสถาบันการเรียนรู้เฉพาะด้านหรือเฉพาะกิจการขึ้น ตามที่เห็นสมควรหรือตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดก็ได้
16. กรมมีอำนาจเชิญบุคคลผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญอย่างแท้จริงตามความถนัดของตนหรือในการประกอบอาชีพที่หลากหลายซึ่งไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติมาให้ความรู้แก่ผู้เรียนได้ และให้บุคคลดังกล่าวจัดการเรียนรู้ การถ่ายทอดประสบการณ์ ความรู้ หรือภูมิปัญญาให้แก่ผู้เรียนได้โดยไม่ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู*** ทั้งนี้ กรมอาจมอบอำนาจดังกล่าว ให้หน่วยจัดการเรียนรู้ก็ได้
กรณีหน่วยงานของรัฐเป็นผู้ดำเนินการในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเอง อำนาจตามมาตรานี้ ให้เป็นอำนาจของหน่วยงานของรัฐนั้น
17. บุคลากรซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในกรมและในหน่วยจัดการเรียนรู้ จะเป็นข้าราชการประเภทใด ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
(และให้นำกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา หรือกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน มาใช้บังคับแก่การบริหารงานบุคคลของข้าราชการในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ แล้วแต่กรณี)
18. ให้นำกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534) มาใช้บังคับแก่การบริหารราชการของกรมส่งเสริมการเรียนรู้โดยอนุโลมไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546)
19. บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง และมติคณะรัฐมนตรีใดที่อ้างถึง สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หรือ เลขาธิการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ถือว่าอ้างถึง กรมส่งเสริมการเรียนรู้ หรือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ แล้วแต่กรณี
20. ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
18. ให้นำกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534) มาใช้บังคับแก่การบริหารราชการของกรมส่งเสริมการเรียนรู้โดยอนุโลมไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546)
19. บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง และมติคณะรัฐมนตรีใดที่อ้างถึง สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หรือ เลขาธิการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ถือว่าอ้างถึง กรมส่งเสริมการเรียนรู้ หรือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ แล้วแต่กรณี
20. ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น