แนวข้อสอบ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562
ข้อ 1. พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 มีวัตถุประสงค์ตามข้อใด
1. กำหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของสังคมไทย
2. ใช้เป็นหลักสำคัญในการจัดทำประมวลจริยธรรมของหน่วยงานของรัฐ
3. เป็นกลไกตรวจสอบการรักษามาตรฐานทางจริยธรรม
4. ป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
ข้อ 2. หน่วยงานของรัฐใดที่ไม่อยู่ภายใต้บังคับพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562
1. สำนักงานเลขาธิการ
2. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
3. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
4. กรมการขนส่งทางราง
ข้อ 3. พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 กำหนดให้มาตรฐานทางจริยธรรมจะต้องมีหลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ กี่ประการ
1. 3 ประการ
2. 5 ประการ
3. 7 ประการ
4. 9 ประการ
1. 3 ประการ
2. 5 ประการ
3. 7 ประการ
4. 9 ประการ
ข้อ 4. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ เลขาธิการ ก.พ.
1. เป็นกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม
2. เป็นรองประธานกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม
3. ปฏิบัติงานธุรการของคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม
4. มีอายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบห้าปี
1. เป็นกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม
2. เป็นรองประธานกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม
3. ปฏิบัติงานธุรการของคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม
4. มีอายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบห้าปี
ข้อ 5. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562
1. องค์กรกลางบริหารงานบุคคลขององค์กรอิสระ ไม่ต้องนำมาตรฐานทางจริยธรรมไปใช้ประกอบการจัดทำประมวลจริยธรรม
2. หน่วยงานธุรการของศาลมิใช่หน่วยงานของรัฐ
3. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 45 ปี
4. สภากลาโหมมีหน้าที่จัดทำประมวลจริยธรรมสำหรับข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหม
1. องค์กรกลางบริหารงานบุคคลขององค์กรอิสระ ไม่ต้องนำมาตรฐานทางจริยธรรมไปใช้ประกอบการจัดทำประมวลจริยธรรม
2. หน่วยงานธุรการของศาลมิใช่หน่วยงานของรัฐ
3. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 45 ปี
4. สภากลาโหมมีหน้าที่จัดทำประมวลจริยธรรมสำหรับข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหม
ข้อ 6. โดยทั่วไปคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมจะต้องทบทวนมาตรฐานทางจริยธรรมเมื่อใด
1. ทุก 2 ปี
2. ทุก 3 ปี
3. ทุก 4 ปี
4. ทุก 5 ปี
1. ทุก 2 ปี
2. ทุก 3 ปี
3. ทุก 4 ปี
4. ทุก 5 ปี
ข้อ 7. ข้อใดมิใช่กรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมโดยตำแหน่ง
1. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
2. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
3. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
4. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ
1. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
2. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
3. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
4. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ
ข้อ 8. มาตรฐานทางจริยธรรมคือหลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ยกเว้นข้อใด
1. กล้ากระทำในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม
2. แสวงหาความรู้ตลอดเวลา
3. ดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดี
4. มีจิตสาธารณะ
1. กล้ากระทำในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม
2. แสวงหาความรู้ตลอดเวลา
3. ดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดี
4. มีจิตสาธารณะ
ข้อ 9. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมมีหน้าที่และอำนาจตาม พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 ยกเว้นข้อใด
1. ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ด้านมาตรฐานทางจริยธรรมต่อคณะรัฐมนตรี
2. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
3. ตรวจสอบรายงานประจำปีของหน่วยงานของรัฐ
4. จัดทำประมวลจริยธรรม
1. ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ด้านมาตรฐานทางจริยธรรมต่อคณะรัฐมนตรี
2. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
3. ตรวจสอบรายงานประจำปีของหน่วยงานของรัฐ
4. จัดทำประมวลจริยธรรม
ข้อ 10. หน่วยงานของรัฐต้องดำเนินการในเรื่องใด เพื่อเป็นการรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
1. กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริยธรรมประจำหน่วยงานของรัฐ
2. ให้ความรู้แก่ประชาชนอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค
3. จัดทำประมวลจริยธรรมให้สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติ
4. กำกับดูแลการดำเนินกระบวนการรักษาจริยธรรม
1. กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริยธรรมประจำหน่วยงานของรัฐ
2. ให้ความรู้แก่ประชาชนอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค
3. จัดทำประมวลจริยธรรมให้สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติ
4. กำกับดูแลการดำเนินกระบวนการรักษาจริยธรรม
ข้อ 11. พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 มีผลใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด
1. วันที่ 16 เมษายน 2562
2. วันที่ 17 เมษายน 2562
3. วันที่ 18 เมษายน 2562
4. วันที่ 19 เมษายน 2562
1. วันที่ 16 เมษายน 2562
2. วันที่ 17 เมษายน 2562
3. วันที่ 18 เมษายน 2562
4. วันที่ 19 เมษายน 2562
ข้อ 12. การจัดหลักสูตรการฝึกอบรมและเผยแพร่ความเข้าใจเพื่อให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีพฤติกรรมทางจริยธรรมเป็นแบบอย่างที่ดี เป็นหน้าที่ของผู้ใด
1. เจ้าหน้าที่ของรัฐ
2. ผู้บังคับบัญชา
3. หน่วยงานของรัฐ
4. องค์กรกลางบริหารงานบุคคล
1. เจ้าหน้าที่ของรัฐ
2. ผู้บังคับบัญชา
3. หน่วยงานของรัฐ
4. องค์กรกลางบริหารงานบุคคล
ข้อ 13. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ใน ก.ม.จ. พ้นจากตำแหน่งตามข้อใด
1. กระทำความผิดโดยประมาทและถูกศาลพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
2. เป็นที่ปรึกษาพรรคการเมือง
3. คณะรัฐมนตรีมีมติให้ออก
4. ครบวาระการดำรงตำแหน่งสี่ปี
1. กระทำความผิดโดยประมาทและถูกศาลพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
2. เป็นที่ปรึกษาพรรคการเมือง
3. คณะรัฐมนตรีมีมติให้ออก
4. ครบวาระการดำรงตำแหน่งสี่ปี
ข้อ 14. การดำเนินการข้อใดถูกต้อง หากปรากฏว่าการจัดทำประมวลจริยธรรมไม่สอดคล้องกับมาตรฐานทางจริยธรรม
1. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมเสนอรายงานต่อคณะรัฐมนตรี
2. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมแจ้งองค์กรกลางบริหารงานบุคคลดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้อง
3. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมออกคำสั่งให้มีการแก้ไขให้ถูกต้อง
4. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมเสนอรายงานต่อรัฐสภาเพื่อใช้มาตรการด้านงบประมาณ
1. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมเสนอรายงานต่อคณะรัฐมนตรี
2. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมแจ้งองค์กรกลางบริหารงานบุคคลดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้อง
3. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมออกคำสั่งให้มีการแก้ไขให้ถูกต้อง
4. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมเสนอรายงานต่อรัฐสภาเพื่อใช้มาตรการด้านงบประมาณ
ข้อ 15. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมมีหน้าที่กำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินการตามมาตรฐานทางจริยธรรม ที่ถูกที่สุดคือข้อใด
1. ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการประเมินพฤติกรรมทางจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
2. จัดทำรายงานประจำปีของหน่วยงานของรัฐ
3. วินิจฉัยปัญหาที่เกิดจากการใช้บังคับ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562
4. กำหนดแนวทางการบังคับใช้ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
1. ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการประเมินพฤติกรรมทางจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
2. จัดทำรายงานประจำปีของหน่วยงานของรัฐ
3. วินิจฉัยปัญหาที่เกิดจากการใช้บังคับ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562
4. กำหนดแนวทางการบังคับใช้ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ข้อ 16. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม เรียกโดยย่อว่า
1. กมจ.
2. กม.จ.
3. ก.ม.จ.
4. ก.มจ.
1. กมจ.
2. กม.จ.
3. ก.ม.จ.
4. ก.มจ.
ข้อ 17. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม
1. คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 5 คน
2. คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 7 คน
3. นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 5 คน
4. นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 7 คน
1. คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 5 คน
2. คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 7 คน
3. นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 5 คน
4. นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 7 คน
ข้อ 18. ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562
1. ประธานกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม
2. ประธานกรรมการข้าราชการพลเรือน
3. นายกรัฐมนตรี
4. อธิบดีกรมการศาสนา
1. ประธานกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม
2. ประธานกรรมการข้าราชการพลเรือน
3. นายกรัฐมนตรี
4. อธิบดีกรมการศาสนา
ข้อ 19. จริยธรรม ตรงกับคำในภาษาอังกฤษข้อใด
1. Ethic
2. Morality
3. Occupation
4. Integrity
1. Ethic
2. Morality
3. Occupation
4. Integrity
ข้อ 20. ข้อใดมิใช่กลไกหลักในการขับเคลื่อน พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562
1. มาตรฐานทางจริยธรรมและประมวลจริยธรรม
2. แนวนโยบายพื้นฐาน
3. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม
4. การรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
1. มาตรฐานทางจริยธรรมและประมวลจริยธรรม
2. แนวนโยบายพื้นฐาน
3. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม
4. การรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
เฉลย
ข้อ 1. ตอบ 2. เนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 76 วรรคสาม บัญญัติให้รัฐจัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อให้หน่วยงานของรัฐใช้เป็นหลักในการกำหนดประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้นๆ ซึ่งจะต้องไม่ต่ำกว่ามาตรฐานทางจริยธรรมดังกล่าว
ข้อ 2. ตอบ 3. มาตรา 3 บัญญัติให้หน่วยงานธุรการของรัฐสภาไม่อยู่ในความหมายของหน่วยงานของรัฐ ซึ่งสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเป็นหน่วยงานธุรการ สังกัดรัฐสภา มีอิสระในการบริหารงานบุคคล งบประมาณ และดำเนินการอื่นตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2554
ข้อ 3. ตอบ 3. มาตรา 5 หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 7 ประการ
ข้อ 4. ตอบ 1. ดูมาตรา 8 วรรคสองข้อ 5. ตอบ 1. มาตรา 7 แม้หน่วยงานธุรการขององค์กรอิสระจะมิใช่หน่วยงานของรัฐตามพ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 แต่มาตรา 7 แห่งพ.ร.บ.ดังกล่าว บัญญัติให้นำมาตรฐานทางจริยธรรมตามพ.ร.บ.นี้ ไปใช้ประกอบการพิจารณาจัดทำประมวลจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยู่ในความรับผิดชอบด้วย เพื่อให้การจัดทำประมวลจริยธรรมในภาครัฐมีมาตรฐานทางจริยธรรมในระดับเดียวกัน
ข้อ 6. ตอบ 4. ดูมาตรา 15 โดยทั่วไปต้องทบทวนทุก 5 ปี เว้นแต่กรณีที่มีความจำเป็นหรือสถานการณ์เปลี่ยนแปลงไป จะทบทวนเร็วกว่านั้นก็ได้
ข้อ 7. ตอบ 1. ดูมาตรา 8 (2) (3)
ข้อ 8. ตอบ 2. ดูมาตรา 5 (3) (4) (7)
ข้อ 9. ตอบ 4. ดูมาตรา 13 (1) (5) (7) สำหรับการจัดทำประมวลจริยธรรมเป็นหน้าที่ขององค์กรกลางบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐข้อ 10. ตอบ 1. ดูมาตรา 19 (1)
ข้อ 11. ตอบ 2. มาตรา 2 บัญญัติให้ พ.ร.บ.นี้ ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136/ตอนที่ 50 ก/หน้า 1/16 เมษายน 2562 จึงมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 17 เมษายน 2562 เป็นต้นไป
ข้อ 12. ตอบ 4. ดูมาตรา 20
ข้อ 13. ตอบ 2. ดูมาตรา 9 (6)
ข้อ 14. ตอบ 2. ดูมาตรา 14 วรรคท้ายข้อ 15. ตอบ 1. ดูมาตรา 13 (4)
ข้อ 16. ตอบ 3. ดูมาตรา 8
ข้อ 17. ตอบ 3. ดูมาตรา 8 (4)
ข้อ 18. ตอบ 3. นายกรัฐมนตรี ดูมาตรา 4
ข้อ 19. ตอบ 1. Ethicข้อ 20. ตอบ 2. พ.ร.บ.นี้ จัดหมวดหมู่ออกเป็น 3 หมวด ซึ่งเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนมาตรฐานทางจริยธรรม
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น