แนวข้อสอบ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ชุดที่ 2)
ข้อ 11. ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม หมายถึง ข้าราชการฝ่ายตุลาการตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมล่าสุดฉบับใด
1. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2550
2. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2551
3. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560
4. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2560
ข้อ 12. อักษรย่อของ คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม คือข้อใด
1. กต
2. กต.
3. ก.ต
4. ก.ต.
ข้อ 13. จากตัวเลือก ข้อใดต่อไปนี้มิได้อยู่ในความหมายของคำว่าสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
1. สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนกลาง
2. สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนเขต
3. สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัด
4. สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนของศาลจังหวัดแผนกคดีเยาวชนและครอบครัว
ข้อ 14. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของกรรมการบริหารศาลยุติธรรมผู้ทรงคุณวุฒิ
1. อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี
2. อายุไม่ต่ำกว่า 40 ปี
3. อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี บริบูรณ์
4. อายุไม่ต่ำกว่า 40 ปี บริบูรณ์
ข้อ 15. ผู้ใดมีหน้าที่และอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดกรณีเป็นที่สงสัยเกี่ยวกับการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
1. ก.บ.ศ.
2. ก.ศ.
3. ก.ต.
4. ก.พ.
ข้อ 16. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับวาระการดำรงตำแหน่ง กรรมการบริหารศาลยุติธรรม
1. คราวละ 2 ปี วาระเดียว
2. คราวละ 2 ปี ดำรงตำแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
3. คราวละ 4 ปี วาระเดียว
4. คราวละ 4 ปี ดำรงตำแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
ข้อ 17. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับวาระการดำรงตำแหน่ง กรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม
1. คราวละ 2 ปี วาระเดียว
2. คราวละ 2 ปี ดำรงตำแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
3. คราวละ 4 ปี วาระเดียว
4. คราวละ 4 ปี ดำรงตำแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
ข้อ 18. การกระทำในข้อใดที่เป็นเหตุแห่งการไล่ออกเพราะกระทำผิดวินัย และเข้าข่ายลักษณะต้องห้ามของการเป็นกรรมการบริหารศาลยุติธรรม (ก.บ.ศ.)
1. ประมาทเลินเล่นอย่างร้ายแรง
2. ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงในหน้าที่ราชการ
3. ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการอันเป็นเหตุให้เกิดความเสียหาย
4. ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการอันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง
ข้อ 19. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. กรรมการบริหารศาลยุติธรรมผู้ทรงคุณวุฒิมีจำนวนไม่น้อยกว่าสองคนแต่ไม่เกินสี่คน
2. เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมเป็นกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
3. กรรมการตุลาการศาลยุติธรรมต้องไม่เป็นกรรมการบริหารศาลยุติธรรมในคราวเดียวกัน
4. ประธานศาลฎีกาเป็นประธานกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
ข้อ 20. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. เลขานุการ ก.พ. เป็นกรรมการในคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมโดยตำแหน่ง
2. ข้าราชการศาลยุติธรรมที่ได้รับคัดเลือก 5 คน เป็นคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม
3. ข้าราชการศาลยุติธรรมประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการขึ้นไป มีสิทธิคัดเลือกข้าราชการศาลยุติธรรมเป็นคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม
4. ข้าราชการศาลยุติธรรมประเภททั่วไป ระดับอาวุโสขึ้นไป มีสิทธิได้รับคัดเลือกเป็นคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม
เฉลย
ข้อ 11. ตอบ 3. ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2560
ข้อ 12. ตอบ 4. มาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 กำหนดนิยาม "ก.ต." หมายความว่า คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม
ข้อ 13. ตอบ 2. ดูนิยาม
ข้อ 14. ตอบ 4. มาตรา 11 (2) อายุไม่ต่ำกว่า 40 ปี บริบูรณ์
ข้อ 15. ตอบ 1. มาตรา 13 วรรคท้าย ก.บ.ศ. เป็นผู้วินิจฉัย
ข้อ 16. ตอบ 2. มาตรา 12 วรรคหนึ่ง กรรมการบริหารศาลยุติธรรมมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 2 ปี แต่จะดำรงตำแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
ข้อ 17. ตอบ 2. มาตรา 20 วรรคหนึ่ง ประกอบกับมาตรา 12 วรรคหนึ่ง กรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 2 ปี แต่จะดำรงตำแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
ข้อ 18. ตอบ 4. มาตรา 77 (4) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543
ข้อ 19. ตอบ 2. มาตรา 10 เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมเป็นเลขานุการ
ข้อ 20. ตอบ 1. มาตรา 18 (1) เลขาธิการ ก.พ. เป็นกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมโดยตำแหน่ง ส่วนเลขานุการ ก.พ. คือ ผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการ ก.พ. ปฏิบัติหน้าที่เป็นเลขานุการของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ไม่ใช่ตำแหน่งเลขานุการ ก.พ.
1. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2550
2. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2551
3. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560
4. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2560
ข้อ 12. อักษรย่อของ คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม คือข้อใด
1. กต
2. กต.
3. ก.ต
4. ก.ต.
ข้อ 13. จากตัวเลือก ข้อใดต่อไปนี้มิได้อยู่ในความหมายของคำว่าสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
1. สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนกลาง
2. สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนเขต
3. สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัด
4. สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนของศาลจังหวัดแผนกคดีเยาวชนและครอบครัว
ข้อ 14. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของกรรมการบริหารศาลยุติธรรมผู้ทรงคุณวุฒิ
1. อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี
2. อายุไม่ต่ำกว่า 40 ปี
3. อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี บริบูรณ์
4. อายุไม่ต่ำกว่า 40 ปี บริบูรณ์
ข้อ 15. ผู้ใดมีหน้าที่และอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดกรณีเป็นที่สงสัยเกี่ยวกับการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
1. ก.บ.ศ.
2. ก.ศ.
3. ก.ต.
4. ก.พ.
ข้อ 16. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับวาระการดำรงตำแหน่ง กรรมการบริหารศาลยุติธรรม
1. คราวละ 2 ปี วาระเดียว
2. คราวละ 2 ปี ดำรงตำแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
3. คราวละ 4 ปี วาระเดียว
4. คราวละ 4 ปี ดำรงตำแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
ข้อ 17. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับวาระการดำรงตำแหน่ง กรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม
1. คราวละ 2 ปี วาระเดียว
2. คราวละ 2 ปี ดำรงตำแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
3. คราวละ 4 ปี วาระเดียว
4. คราวละ 4 ปี ดำรงตำแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
ข้อ 18. การกระทำในข้อใดที่เป็นเหตุแห่งการไล่ออกเพราะกระทำผิดวินัย และเข้าข่ายลักษณะต้องห้ามของการเป็นกรรมการบริหารศาลยุติธรรม (ก.บ.ศ.)
1. ประมาทเลินเล่นอย่างร้ายแรง
2. ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงในหน้าที่ราชการ
3. ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการอันเป็นเหตุให้เกิดความเสียหาย
4. ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการอันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง
ข้อ 19. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. กรรมการบริหารศาลยุติธรรมผู้ทรงคุณวุฒิมีจำนวนไม่น้อยกว่าสองคนแต่ไม่เกินสี่คน
2. เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมเป็นกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
3. กรรมการตุลาการศาลยุติธรรมต้องไม่เป็นกรรมการบริหารศาลยุติธรรมในคราวเดียวกัน
4. ประธานศาลฎีกาเป็นประธานกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
ข้อ 20. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. เลขานุการ ก.พ. เป็นกรรมการในคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมโดยตำแหน่ง
2. ข้าราชการศาลยุติธรรมที่ได้รับคัดเลือก 5 คน เป็นคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม
3. ข้าราชการศาลยุติธรรมประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการขึ้นไป มีสิทธิคัดเลือกข้าราชการศาลยุติธรรมเป็นคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม
4. ข้าราชการศาลยุติธรรมประเภททั่วไป ระดับอาวุโสขึ้นไป มีสิทธิได้รับคัดเลือกเป็นคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม
เฉลย
ข้อ 11. ตอบ 3. ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2560
ข้อ 12. ตอบ 4. มาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 กำหนดนิยาม "ก.ต." หมายความว่า คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม
ข้อ 13. ตอบ 2. ดูนิยาม
ข้อ 14. ตอบ 4. มาตรา 11 (2) อายุไม่ต่ำกว่า 40 ปี บริบูรณ์
ข้อ 15. ตอบ 1. มาตรา 13 วรรคท้าย ก.บ.ศ. เป็นผู้วินิจฉัย
ข้อ 16. ตอบ 2. มาตรา 12 วรรคหนึ่ง กรรมการบริหารศาลยุติธรรมมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 2 ปี แต่จะดำรงตำแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
ข้อ 17. ตอบ 2. มาตรา 20 วรรคหนึ่ง ประกอบกับมาตรา 12 วรรคหนึ่ง กรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 2 ปี แต่จะดำรงตำแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
ข้อ 18. ตอบ 4. มาตรา 77 (4) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543
ข้อ 19. ตอบ 2. มาตรา 10 เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมเป็นเลขานุการ
ข้อ 20. ตอบ 1. มาตรา 18 (1) เลขาธิการ ก.พ. เป็นกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมโดยตำแหน่ง ส่วนเลขานุการ ก.พ. คือ ผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการ ก.พ. ปฏิบัติหน้าที่เป็นเลขานุการของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ไม่ใช่ตำแหน่งเลขานุการ ก.พ.
#นักเรียนกฎหมาย
16 พฤศจิกายน 2561
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น